วันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554

ภาษา SQL (Standard Query Language)

Standard relational database Query Language (SQL) Standard relational databaseหรือเอสคิวแอล (SQL) หรือซีควอล (SE-QUEL) ซึ่งเป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นมาโดยบริษัทSQL (Standard Query Language) เป็นส่วนหนึ่งของระบบฐานข้อมูลแบบรีเลชั่นเนล ที่ได้รับความนิยมมากเพราะง่ายต่อความเข้าใจ และอยู่ในรูปภาษาอังกฤษ ภาษา
SQL
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
ภาษาที่ใช้สำ หรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language-DDL)
ภาษาสำ หรับการจัดการข้อมูลล (Data Manipulation Language: DML)
ภาษาควบคุม (Control Language)
ภาษาในการเลือกข้อมูล (Data Query Language)
รูปแบบการใช้คำ สั่ง
SQL สามารถใช้ได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ คือ
คำ สั่ง SQL ที่ใช้เรียกดูข้อมูลได้ทันที (Interactive SQL)
เป็นการเรียกใช้คำ สั่ง
SQL สั่งงานบนจอภาพ เพื่อเรียกดูข้อมูลในขณะที่ทำ งานได้ทันที เช่น
SELECT CITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘SE’;
คำ สั่ง SQL ที่ใช้เขียนร่วมกันโปรแกรมอื่น ๆ (Embedded SQL)
เป็นคำ สั่ง
แต่กับคำ สั่งในโปรแกรมที่ระบบจัดการฐานข้อมูลนั้นมีใช้เฉพาะ เช่น
Language /SQL)
ตัวอย่างการใช้คำ สั่ง
EXEC SQL SELECT CITY
INTO :XCITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘S4’;
 (Data Definition Language-DDL )
Data Definition Language (DDL)
การกำ หนดให้ฐานข้อมูลประกอบด้วยตารางอะไรบ้าง ชื่ออะไร ประเภทใด มีอินเด็กซ์
ภาษา
DDLประกอบด้วย 3 คำ สั่งคือ
คำ สั่งการสร้าง (Create) ได้แก่ การสร้างตารางและอินเด็กซ์
CREATE TABLE <Table name>
( Attribute 1 Type 1,
Attribute 2 Type 2 ,
)
CREATE Unique Index on X<Table name>
เช่น
CREATE TABLE S11
(SNO CHAR(5) Not NULL,
SNAME CHAR(10) ,
STATUS integer
)
CREATE Unique Index XS11 on S11(SNO)
คำ สั่งเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ALTER TABLE <
<
ชื่อตารางที่ตั้งขึ้น >คำ สั่งการเปลี่ยนแปลง> (<ชื่อคอลัมน์ ประเภทข้อมูล>);
ตัวอย่างเช่น
ALTER TABLE SUPPLIER
ADD (LAST_SNAME Char(10));
การลบโครงสร้างตาราง
คำ สั่งยกเลิก (Drop) ต่างๆ
DROP TABLE <
ชื่อตารางที่ตั้งขึ้น >
ภาษาดังกล่าวคือ ภาษาที่ใช้สร้างฐานข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ หลังจากที่เราได้ออกแบบแล้วว่า
ฐานข้อมูลมีกี่รีเลชั่น แต่ละรีเลชั่นมีความสัมพันธ์อย่างไร จากนั้นการใช้ภาษา
ต่างๆ ให้อยู่ในรูปภาษาสำ หรับนิยามข้อมูล เพื่อป้อนเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล เพื่อสร้างฐานข้อมูลที่แท้จริง
ให้เกิดขึ้นในคอมพิวเตอร์ ภาษา

CREATE TABLE
มูล
นิยามโครงสร้างข้อมูลในรูปตารางบนฐานข้อ
DROP TABLE
ลบโครงสร้างตารางข้อมูลออกจากระบบALTER TABLE
CREATE INDEX
สร้างดัชนีของตาราง
DROP INDEX
ลบ ดัชนีของตารางออกจากระบบ
CREATE VIEW
กำ หนดโครงสร้างวิวของผู้ใช้DROP VIEW ลบโครงสร้างวิวออกจากระบบ

คำ สั่งนิยามโครงสร้างตาราง
การสร้างตารางใน ฐานข้อมูลแบบรีเลชั่นเนล โดยเฉพาะฐานข้อมูลขนาดใหญ่บนระบบ
UNIX
แบบต่อไปนี้
จะทำ ด้วยการป้อนคำ สั่งในลักษณะเท็กซ์โหมด (Text Mode) เข้าไปในระบบฐานข้อมูล ดังรูป
CREATE TABLE <
ชื่อตาราง>(<

ประเภทของข้อมูล
ประเภทของข้อมูลแบ่งเป็น
ว่าคืออะไร ตัวอย่างเช่น
5 ประเภทใหญ่ๆ ขึ้นอยู่กับซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูลที่ใช้CHAR, INTEGER, DATE ฯลฯ
คำ สั่งการลบโครงสร้างตาราง
DROP TABLE <
ชื่อตารางที่ต้องการลบ>
คำ สั่งการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง
ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตารางที่เคยนิยามไว้ สามารถใช้คำ สั่งต่อไปนี้
ALTER TABLE <
<
ชื่อตารางที่ต้องการเปลี่ยนแปลง>คำ สั่งการเปลี่ยนแปลง><[,<ชื่อคอลัมน์ ประเภทของข้อมูล>]>
คำ สั่งดัชนี
ดัชนี
ข้อมูลแบบรีเลชั่นเนล
ถูกสร้างขึ้น จะเก็บไว้แยกจากตารางในพื้นที่ต่างหาดของคอมพิวเตอร์ โดยปกติ ถ้าไม่มีการประกาศ
ดัชนี ไว้การค้นหาข้อมูลในตาราง นั้นจะต้องทำ แบบเรียงลำ ดับจากแถวที่หนึ่งจนถึงแถวสุดท้าย การ
สร้างดัชนีสำ หรับตารางใดๆ จะทำ ได้โดยการเลือกคอลัมน์ใดคอลัมน์หนึ่งจากตารางมาเป็นดัชนี และตา
รางหนึ่งๆ สามารถมีได้หลายดัชนี
นอกจากเพิ่มความรวดเร็วในการดึงข้อมูลแล้ว ยังสามารถนำ ไปใช้ในการควบคุม
คอลัมน์ที่นำ มาสร้างเป็นดัชนีให้มีการเก็บข้อมูลที่ไม่ซำ้กัน

การสร้างดัชนีจะใช้คำ สั่ง
ต่อไปนี้
CREATE INDEX แล้วตามด้วยชื่อดัชนีที่เราตั้งขึ้น ดังรูปแบบ
CREATE [UNIQUE] INDEX <
ON (<
ชื่อตารางที่ตั้งขึ้น >ชื่อตารางที่สร้างดัชนี> (< ชื่อคอลัมน์ 1> [,< ชื่อคอลัมน์ 2>]…);
การลบดัชนี
เมื่อต้องการลบดัชนีที่สร้างขึ้น ก็สามารถทำ ได้ด้วยคำ สั่ง
ชื่อดัชนีที่ต้องการลบ ดังรูปแบบดังนี้
DROP INDEX แล้วตามด้วยDROP INDEX <

ภาษาสำ หรับการจัดการข้อมูล
(Data Manipulation Language-DML)
หลังจากที่เราสร้างโครงสร้างฐานข้อมูลขึ้นแล้ว คำ สั่งต่อไปในการป้อนข้อมูลลงในฐานข้อมูล
และเปลี่ยนแปลงข้อมูล ในฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสำ หรับการจัดการข้อมูล
Language-DML)
แบ่งออกเป็น
(Data Manipulationใช้จัดการข้อมูลภายในตารางภายในฐานข้อมูล และภาษาแก้ไขเปลี่ยนแปลงตาราง4 Statement คือ
Select Statement : การเรียกหา (Retrieve) ข้อมูลจาก ฐานข้อมูล
Insert Statement : การเพิ่มเติมข้อมูลลงใน ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล
Delete Statement: การลบข้อมูลลงออกจาก ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล

SELECT
เรียกค้นข้อมูลในตาราง
INSERT
เพิ่มแถวข้อมูลลงในตาราง
DELETE
ลบแถวข้อมูลUPDATE

คำ สั่งค้นหาข้อมูล
(Query Statement)
คำ สั่ง
SELECT เป็นคำ สั่งการเรียกดูข้อมูล หรือ ค้นข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ระบุบ เนื่องจากคำ สั่ง
SELECT
เป็นคำ สั่งที่มีรูปแบบการใช้งานที่ง่ายเพื่อช่วยในการค้นหาข้อมูลที่ซับซ้อน ดังมีรูปแบบดังนี้
SELECT <
FROM <
WHERE <
SELECT ---
มากกว่าหนึ่งคอลัมน์ต้องคั่นด้วย คอมม่า
ดอกจัน
FROM ---
ได้ ที่จะถูกเรียกใช้จากคำ สั่ง
WHERE---
รางใด ๆ ที่อยู่หลัง
เป็นคำ ส่วนประกอบของคำ สั่งที่บอกถึงตารางที่ต้องการดู ซึ่งอาจจะมีมากกว่าหนึ่งตารางก็SELECTเป็นส่วนประกอบของคำ ส่ง ที่ใช้บ่งบอกเงื่อนไขที่จะใช้ในการค้นหาข้อมูล ขึ้นมาจากตาFROM นี้
การเรียกดูแบบซ้อนกัน
(Nested SELECT Statement)
SELECT <
FROM <
WHERE <
( SELECT <
FROM <
WHERE <
ชื่อคอลัมน์>ชื่อตาราง>ชื่อคอลัมน์> INชื่อคอลัมน์>ชื่อตาราง>ชื่อคอลัมน์> )
คำ สั่งเติมข้อมูล
(Insert Statement)
INSERT INTO <
VALUES (<
ชื่อตาราง >ชื่อคอลัมน์ 1> [,< ชื่อคอลัมน์ 2>]…);
คำ สั่งแก้ไขและลบแถว
(Update Statement )
UPDATE <
SET <
WHERE <


ขอบคุณที่มาจาก: http://www.sut.ac.th/ist/Courses/204204/Lecture/204204_47_09.pdf

 

(Relational Database)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น